เป้าประสงค์ | ตัวชี้วัด | กลยุทธ์ | ตัวชี้วัด | โครงการ | สถานะโครงการ|ตัวชี้วัดโครงการ | ความสำเร็จ (%) |
1.1 เพื่อยกระดับบัณฑิตให้มีศักยภาพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล | 1.1.1 แผนพัฒนาหลักสูตรปริญญาตรีเภสัชศาสตร์เข้าสู่มาตรฐาน AUN QA (L) | 1.1.2 แผนพัฒนานักศึกษาเพื่อส่งเสริมให้มีความสามารถในระดับสากล รองรับการเป็นผู้ประกอบการและการทำงานในองค์กรขนาดใหญ่หรือองค์กรข้ามชาติ (L) | 1.1.3 แผนเชิงรุกในการสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรขนาดใหญ่หรือองค์กรข้ามชาติด้านวิชาการ (L) | 1.1.4 แผนพัฒนานักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาให้มีศักยภาพด้านการวิจัยที่มีคุณภาพ (L) | 1.1.4 พัฒนาหลักสูตรรูปแบบใหม่เพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศ (L) | 1.1.5 พัฒนารายวิชาเพื่อเข้าสู่เครดิตแบงค์ (L) | 1.1.5 แผนบุคลากรเพื่อยกระดับบัณฑิตให้มีศักยภาพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล |
1.2 บัณฑิตในระดับบัณฑิตศึกษามีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมในระดับสากล | 1.2.1 ยกระดับผลงานวิชาการและนวัตกรรมที่เกิดจากหลักสูตรบัณฑิตศึกษาสู่ระดับสากล (L) | |||||
2.1 เพิ่มผลงานวิจัยที่สามารถตีพิมพ์ได้ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ | 2.1.1 แผนส่งเสริมและกระตุ้นเพื่อเพิ่มผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ (L) | 2.1.2 แผนสนับสนุนให้กลุ่มวิจัยได้รับการรับรองเพื่อเพิ่มศักยภาพผลงานวิจัย (S) | 2.1.3 แผนพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือด้านการวิจัยร่วมกับองค์กรภายในและภายนอกประเทศ (L) | 2.1.4 แผนบุคลากรเพื่อเพิ่มผลงานวิจัยที่สามารถตีพิมพ์ได้ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ | ||
2.2 การมุ่งเน้นการสร้างนวัตกรรม และทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และยกระดับคุณภาพของการบริการสุขภาพ | 2.2.1 แผนส่งเสริมและกระตุ้นเพื่อเพิ่มนวัตกรรม (L) | 2.2.2 แผนสนับสนุนและต่อยอดงาน prototype (ระดับ TRL4 ขึ้นไป) สู่เชิงพาณิชย์ (L) | 2.2.3 สนับสนุนการสร้างรายได้จากผลงานวิจัย นวัตกรรม และทรัพย์สินทางปัญญา (L) | 2.2.3 แผนบุคลากรเพื่อการมุ่งเน้นการสร้างนวัตกรรม และทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และยกระดับคุณภาพของการบริการสุขภาพ | ||
2.3 สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดผลงานวิจัย นวัตกรรม และทรัพย์สินทางปัญญา ผ่านความร่วมมือกับองค์กรภายในประเทศและต่างประเทศ | 2.3.1 สร้างความร่วมมือด้านการวิจัยกับหน่วยงานในระดับนานาชาติ (L) | |||||
3.1 ประชาชนในชุมชนเป้าหมายมีความรอบรู้ในการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ | 3.1.1 แผนบูรณาการงานบริการวิชาการผ่านการเรียนการสอนและการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพชุมชน (L) | |||||
3.2 เป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านสมุนไพรและภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมทั้งด้านยาและสุขภาพ | 3.2.1 แผนสร้างศูนย์ความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีชีวภัณฑ์ และเกษตรสารสกัด เพื่อให้บริการกับผู้ประกอบการ | |||||
3.3 เพิ่มรายได้จากการจัดหลักสูตรอบรมระยะสั้น และหลักสูตรที่เน้นพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ และเพิ่มศักยภาพในการสร้างรายได้ของหน่วยบริการวิชาการ | 3.3.1 ส่งเสริมศักยภาพในการหารายได้จากการบริการวิชาการ (ประชุมวิชาการ/หลักสูตรฝึกอบรม/หน่วยบริการวิชาการ) เพื่อเสถียรภาพทางการเงินอย่างยั่งยืน | |||||
3.4 ยกระดับผลงานวิจัยและนวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรและเวชสำอางสมุนไพรในเชิงพาณิชย์ร่วมกับผู้ประกอบการ | 3.4.1 สร้างศูนย์ความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีชีวภัณฑ์ และเกษตรสารสกัด เพื่อยกระดับการแข่งขันของประเทศ | |||||
4.1 พัฒนาการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล | 4.1.1 แผนส่งเสริมให้เกิดการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ลดขั้นตอน (L) | 4.1.2 แผนพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศที่มีคุณภาพและพร้อมใช้เพื่อการตัดสินใจในการบริหารจัดการ (S) | 4.1.3 แผนพัฒนาระบบการสื่อสารองค์กรทั้งภายในและภายนอกให้มีประสิทธิภาพ (S) | 4.1.4 แผนสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของคณะ (S) | 4.1.5 แผนพัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งสนับสนุนการดำเนินงานตามพันธกิจ (L) | 4.1.6 แผนบุคลากรเพื่อพัฒนาการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล |
4.2 เพิ่มความผูกพันของบุคลากรต่อองค์กร | 4.2.1 แผนปรับปรุงระบบภาระงานและการประเมินผลการปฏิบัติราชการที่เป็นธรรม (S) | 4.2.2 แผนปรับปรุงบรรยากาศในการทำงานและเสริมสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคลเพื่อนำไปสู่ความผูกพันองค์กร (L) | 4.2.3 แผนพัฒนาและปรับปรุงสวัสดิการสำหรับบุคลากรในองค์กร (S) | |||
4.3 การเพิ่มรายได้เพื่อพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน | 4.3.1 แผนส่งเสริมศักยภาพในการหารายได้จากการบริการวิชาการ (ประชุมวิชาการ/หลักสูตรฝึกอบรม/หน่วยบริการวิชาการ) (L) | 4.3.2 แผนส่งเสริมการนำผลงานวิจัย นวัตกรรมและทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อต่อยอดในเชิงพาณิชย์ (L) | 4.3.3 แผนเชิงรุกเพื่อเพิ่มรายได้จากการบริหารสินทรัพย์ของคณะ (L) |